เป้าหมายหลัก (Understanding Goal) : เข้าใจพร้อมทั้งสามารถอธิบายเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และผลกระทบจากสื่อโฆษณาต่างๆ รู้เท่าทันและวิเคราะห์สื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ สามารถสร้างการเรียนรู้ให้ตนเองและผู้อื่นผ่านการออกแบบและผลิตสื่อสร้างสรรค์ ได้

วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

Main

คำถามหลัก (Big Questions) : สื่อมีอิทธิพลต่อการสร้างการเรียนรู้และชีวิตประจำวันอย่างไร
ภูมิหลังของปัญหา :
            หากมองย้อนกลับไปในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาเมื่อพูดถึงคำว่า เครือข่ายสังคมที่เต็มไปด้วยกลุ่มวัยรุ่นที่ทำกิจกรรมติดต่อสื่อสาร พูดคุย แลกเปลี่ยนข้อมูลด้านความบันเทิง หรือกิจกรรมอื่นๆ ที่เน้นไปที่การกระจายตัว ความเป็นเมืองไปยังพื้นที่ต่างๆ อย่างทั่วถึง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทั้งด้านการคมนาคมขนส่ง การค้าและบริการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการสื่อสารที่ก้าวไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เราสามารถเข้าถึงบริการด้านข้อมูลข่าวสาร และการติดต่อสื่อสารในยุคการเชื่อมต่อไร้สายผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้มากขึ้น
                จะเห็นได้ว่า ตั้งแต่เทคโนโลยีการสื่อสารพัฒนาอย่างก้าวล้ำ สื่อสังคมออนไลน์กลับส่งผลไปในการลบต่อชีวิตประจำวันและความสัมพันธ์ของคนในสังคมอย่างชัดเจนยิ่งขึ้น จนกลายเป็นประเด็นทางสังคม ที่ทั้งสื่อ กฎหมายและประชาชนเองจะต้องให้ความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเหล่านี้ โดยเฉพาะกับกลุ่มวัยรุ่นที่ใช้เวลาไปกับสื่อออนไลน์วันละ หลายชั่วโมง จนอาจนำไปสู่ความขัดแย้ง ทะเลาะวิวาท จนถึงขั้นทำร้ายร่างกายตามมาการที่ไม่มีตัวตน หรือมีตัวตนซ่อนเร้นในโลกออนไลน์ ทำให้คนมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นหรือแสดง ความแรง ออกมาในสังคมมากขึ้น โดยเฉพาะในสังคมวัยรุ่นสมัยนี้ที่มีการสื่อสารห้วนขึ้น สั้นขึ้น แรงขึ้น หรือวัฒนธรรมแบบสามคำสี่พยางค์ อย่างเวลาที่เราพูดห้วนๆ จะมีความแรงอยู่ด้วย ซึ่งจะนำไปสู่การวิวาทง่ายขึ้น  เช่น ทะเลาะในเฟซบุ๊กแล้วไปต่อในไลน์ หรือ ทะเลาะในไลน์แล้วไปต่อในต่อในเฟซบุ๊ก แล้วออกมาเคลียร์กันตัวต่อตัว จากความรุนแรงทางความสัมพันธ์ในการสื่อสาร กลายเป็นความรุนแรงทางกายภาพ
                ดังนั้นจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งที่นักเรียนจะต้องสร้างการเรียนรู้ที่สามารถป้องกันภัยที่มาจากสื่อสังคมออนไลน์ ก็คือการรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) โดยต้องเข้าใจสภาพของสื่อออนไลน์ว่าเป็นสังคมที่มีทั้งพื้นที่ส่วนตัวและพื้นที่สาธารณะ เรียนรู้การสื่อสารและการมีปฏิสัมพันธ์บนโลกออนไลน์กับชีวิตจริงว่า ความรอบคอบและมีสติทุกครั้งในการสื่อสารและแสดงความคิดเห็นต่างๆ บนโลกออนไลน์ คือวิธีป้องกันภัยร้ายได้อย่างดี
เป้าหมายของความเข้าใจ (Understanding Goal) :  

                เพื่อพัฒนารูปแบบการตัดสินใจอย่างมีวิจารณญาณ




                                               
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์สาระการเรียนรู้กับมาตรฐานและตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย :  สานฝัน GEN  ใหม่ไป ICT ” ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1    Quarter  4 ภาคเรียนที่  2  ปีการศึกษา  2559

กิจกรรม
Active learning
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
21101
21101
21102
21101
21101
21101
21201
- ออกแบบการเรียนรู้
- ประเภทและลักษณะของสื่อโฆษณา
- วิเคราะห์ปัญหาและแนวทางแก้ไขเกี่ยวกับสื่อและโฆษณา
- กฎหมายที่เกี่ยวกับสื่อและโฆษณา
- การเลือกใช้สื่อโฆษณาชนิดต่างๆ
- ประโยชน์และโทษของสื่อและโฆษณา
- การรู้เท่าทันสื่อต่างๆ


มาตรฐาน ว 2.2
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายประโยชน์/โทษของสื่อต่อการดำรงชีวิต 
( 2.2 .3 /1)
วิเคราะห์การเพิ่มขึ้นของสื่อต่างๆในปัจจุบัน
 (
 2.2 .3 /4)
สามารถอธิบายการใช้สื่อต่างๆที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมและมนุษย์ ( 2.2 .3/6)
มาตรฐาน ว 4.1
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายความหมายของสื่อและเทคโนโลยีต่างๆ ว 4.1  ม.1/1)
มาตรฐาน ว 5.1
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสื่อและเทคโนโลยีและการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน 
(ว 5.1  ม.1/4)
มาตรฐาน ว 6.1
สามารถสืบค้นและอธิบายเกี่ยวกับประเภทกับลักษณะของสื่อและเทคโนโลยี และสามารถบอกความหมายได้ 
 ( 6.1 .1 /5 )
มาตรฐาน ว 8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ  ( 8.1 .1 /1)
สร้างสมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบได้หลายวิธี 
( 8.1.1/2)
แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระและสรุปสิ่งที่เรียนรู้เกี่ยวกับสื่อและโฆษณา
 ( 8.1 .1/3
แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระและสรุปสิ่งที่เรียนรู้เกี่ยวกับสื่อและประเภทของสื่อออนไลน์
 ( 
 8.1 .1/4)       
- วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุปทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบ
(ว. 8.1 ม.1/5)
- บันทึกและอธิบายจากการค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้ 
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงาน หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
 (ว 8.1 ม.2/9)
มาตรฐาน ส 2.1
ระบุความสามารถของตนเองในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ
( 2.1 .1/2)
อภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางสื่อและเทคโนโลยีที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจจะนำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน  ( 2.1.1/3)
แสดงออกถึงความเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่น  ( 2.1  .1/4)
มาตรฐาน ส 2.1
อภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางสื่อและเทคโนโลยีที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจจะนำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน  ( 2.1 .1/3)
แสดงออกถึงความเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่น 
( 2.1  .1/4)
มาตรฐาน ส
 3.1
อธิบายความหมายและความสำคัญของสื่อและเทคโนโลยี     
( 3.1 .1 /1)
อธิบายและวิเคราะห์ถึงความแตกต่างของประเภทกับลักษณะของสื่อและเทคโนโลยีได้
 ( 3.1 .1 /3 )
มาตรฐาน ส 2.1
อภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางสื่อและเทคโนโลยีที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจจะนำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน  ( 2.1 .1/3)
แสดงออกถึงความเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่น ( 2.1  .1/4)
มาตรฐาน ส
 3.1
วิเคราะห์ปัญหาจากสื่อและเทคโนโลยี และหาแนวทางวิธีการแก้ไขถึงปัญหาดังกล่าวได้อย่างเหมาะสม ( 3.1 .1/2)


มาตรฐาน ส 4.1
วิเคราะห์และวางแผนในการสืบค้นหาข้อมูลที่จะนำมาศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับสื่อและเทคโนโลยี                ( 4.1  ม.1/1)
มาตรฐาน ส 4.2
อธิบายถึงพัฒนาการของสื่อและเทคโนโลยี 
( 4.2  ม.1/1
มาตรฐาน    1.1
วิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานตามกระบวนการทำงานได้  ( 1.1 ม.1 /1 )
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ  
 ( 1.1 .1 /2 )
ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล ( 1.1 .1 /3 )
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า  ( 1.1  ม.2 /3)
มาตรฐาน ง 2.1
สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างปลอดภัย ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพฉาย เพื่อนำไปสู่การสร้างต้นแบบ และแบบจำลองของสิ่งของเครื่องใช้หรือถ่ายทอดความคิดของวิธีการเป็นแบบจำลองความคิดและการรายงานผล  (ง 2.1 ม./3)
มาตรฐาน ง 3.1
อธิบายหลักการทำงานบทบาทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์  ( 3.1 ม.1/1 )
ค้นหาข้อมูล และติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ( 3.1 .2 /3)
ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต
(
 3.1 .4-6/9)
- บอกข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  
(ง 3.1 ม.4-6/13)
- เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน (1.1.2 /1)
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน          
   (1.1 .2 /2 )
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า
 (1.1 .2 /3 )
- สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ          
(1.1 .3 /1)
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต     
 (ง 1.1 .4-6 /1 )
- สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
 (ง 1.1 .4-6 /2 )
- มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 .4-6 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
  (ง 1.1 .4-6 /4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศเพื่อการดำรงชีวิต                    (ง 1.1 .4 /5 )
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน
 (ง 1.1 .4-6 /6 )

มาตรฐาน   2.1
เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่นได้ ( 2.1 ม.1/2)
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
 2.1 ม.2/3 )
มาตรฐาน   3.1          
-  ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน 
( 3.1 .4/2 )
มาตรฐาน  พ 3.2
- มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้                  (3.2 ม.3/3)
- นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้      
(3.2 ม.3/5)
มาตรฐาน พ 4.1
วิเคราะห์ถึงปัญหาที่เกิดจากการกระทำข้อมูลจากสื่อและเทคโนโลยี และค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้างเสริมสุขภาพ
(4.1 ม.1/2)
- เลือกรับสื่อและเทคโนโลยีได้อย่างมีเหตุผล ( 4.1 ม.2/1)
วิเคราะห์ผลของการใช้สื่อเทคโนโลยีที่มีต่อสุขภาพ  ( 4.1 .2 /2)
มาตรฐาน พ 5.1
วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงในการเลือกรับสื่อของวัยรุ่น
( 5.1 ม.3/1)

มาตรฐาน ศ1.1
ระบุและบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล 
( 1.1.1/2)
ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรือกราฟิก อื่นๆ สร้างงานทัศนศิลป์และภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ      
( 1.1 .1/5)
มาตรฐาน ส 2.1
สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
( 2.1  ม.1/1)
เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
( 2.1  ม.1/2)
วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
( 2.1  ม.1/3)


สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย
( 2.1  ม.1/3)




ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (PBL) หน่วย: " social network" สื่อออนไลน์

                                        ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559


week

input

process

Out put

Out come

1


โจทย์ : สร้างแรง /  เรื่องที่อยากเรียนรู้                                       
คำถาม
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากสิ่งที่ได้ดู?
- ถ้าเป็นเราจะทำอย่างไร?
- นักเรียนคิดว่าแต่ละกลุ่มต้องการสื่อถึงเรื่องอะไร ?
- นักเรียนคิดว่าแต่ละกลุ่มแตกต่างกันอย่างไร ?
- นักเรียนจะออกแบบการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ?  
                                             
เครื่องมือคิด      
-
 Round robin เกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ประทับใจในช่วงวันหยุด ,  แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคลิปที่ได้ชม , การแสดงบทบาทสมมติ
-
Black board share แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันและพร้อมตั้งชื่อหน่วย
-
Think pair share เลือกชื่อหน่วยที่อยากเรียนรู้
-
Wall thinking ติดชิ้นงาน

- ครูและนักเรียน สนทนาเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ประทับใจในช่วงปิด Quarter (Round robin)
- นักเรียนดูคลิป เรื่อง  คุณ ณอน บูรณะหิรัญ
- ครูเล่าเรื่องการซื้อ – ขาย ของออนไลน์และการแอบอ้าง
- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์คลิปที่ได้ดู              ( ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร และเกี่ยวข้องกับตนเองอย่างไร ) (Round robin)
- ครูให้ micro word ที่เกี่ยวข้องและส่งผลของสื่อในชีวิตประจำวัน  ดังนี้                             
                - สังคมก้มหน้า
                -  ภัยจากเกมส์
                -  สื่อสร้างสรรค์
- นักเรียนแบ่งกลุ่มออกแบบบทบาทสมมติ
- นักเรียนนำเสนอ
 - ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด  นักเรียนคิดว่าแต่ละกลุ่มต้องการสื่อถึงเรื่องอะไร ? “ถ้าเป็นเราจะทำอย่างไร” “นักเรียนคิดว่าแต่ละกลุ่มแตกต่างกันอย่างไร ?” “ได้เรียนรู้อะไร?”

ภาระงาน
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
- เลือกหัวข้อเรื่องที่ต้องการเรียนรู้
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้

ชิ้นงาน
- สรุปเรื่องที่ได้จากดูคลิป
- ชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถออกแบบกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างน่าสนใจ

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
 - ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย







week
input
process
Out put
Out come
1





























สื่อและอุปกรณ์
- คลิป เรื่อง  คุณ ณอน บูรณะหิรัญ
การซื้อ – ขาย ของออนไลน์และการแอบอ้าง”
- word แสดงบทบาทสมมติ
- การจัดบรรยากาศห้องเรียน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน                  ( Round robin )
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด นักเรียนจะออกแบบการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ?  
- นักเรียนร่วมกันเลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้ผ่านเครื่องมือคิด Black board share
- ตั้งชื่อหน่วย
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้และสิ่งที่อยากเรียนรู้รวบรวมความคิดเห็นร่วมกัน ในรูปแบบ Think Pair Share
-ครูและนักเรียนร่วมกันนำสิ่งที่อยากเรียนรู้มาออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ในกระดาษชาร์ตแผ่นใหญ่
-นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนรู้ในรูปแบบ Mind Mapping
- สรุปการเรียนรู้ในรายสัปดาห์































week
input
process
Out put
Out come
2






โจทย์ : แนวคิดผลิตสื่อออนไลน์
คำถาม                                                 
- เราจะเรียนรู้แนวคิดของการผลิตสื่อออนไลน์ได้อย่างไร ?
- นักเรียนคิดว่าบุคคลเหล่านี้มีแนวคิดอย่างไรในการใช้สื่อ ?
- หากนักเรียนจะผลิตสื่อออนไลน์ที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในปัจจุบันจะมีกระบวนการอย่างไรบ้าง?

เครื่องมือคิด
- แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับแนวคิดที่ฟังในรูปแบบ Place Mat
- Flipped Classroom

สื่อ / อุปกรณ์
- ผู้ผลิตสื่อออนไลน์

- เราจะเรียนรู้แนวคิดของการผลิตสื่อออนไลน์ได้อย่างไร ?
- ครูเปิดคลิป เปิ้ล ปทุมราช”                    “คลิปเบื้องหลังภาพยนตร์
- ครูเชิญผู้คุณครูอิงมาบอกเล่าเรื่อง คนใช้สื่อ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด นักเรียนคิดว่าบุคคลเหล่านี้มีแนวคิดอย่างไรในการใช้สื่อ ?”
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับแนวคิดที่ฟังในรูปแบบ Place Mat
- ครูให้โจทย์ หากนักเรียนจะผลิตสื่อออนไลน์ที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในปัจจุบันจะมีกระบวนการอย่างไรบ้าง?” (Flipped Classroom)
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์





ภาระงาน
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- โจทย์ หากนักเรียนจะผลิตสื่อออนไลน์ที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในปัจจุบันจะมีกระบวนการอย่างไรบ้าง?

ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับแนวคิดที่ฟังในรูปแบบ Place Mat


ความรู้
เข้าใจและสามารถวิเคราะห์แนวความคิดของผู้ผลิตสื่อออนไลน์ได้

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน 
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย


week
input
process
output
outcome
3

โจทย์ : การผลิตสื่อ
คำถาม
- การผลิตสื่อออนไลน์ที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในปัจจุบันจะมีกระบวนการอย่างไรบ้าง?
- นักเรียนคิดว่าสื่อออนไลน์ที่มีความสร้างสรรค์และสร้างการเรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ควรมีลักษณะเป็นอย่างไร?

เครื่องมือคิด
-โจทย์นักเรียนคิดว่า หากเราจะถ่ายทอดหรือนำเสนอจะทำอย่างไรให้ผู้อื่นเกิดการเรียนรู้ (Flipped Classroom)
 - Mind mapping สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อ

สื่อ / อุปกรณ์
-  คลิปรุ่นพี่
 
- กระดาษ A4
-  ดินสอ / สี
- ครูเปิดคลิปของรุ่นพี่ที่ได้ทำไว้ให้นักเรียนดู
รายการอายุน้อยร้อยล้านการผลิตสื่อโทรทัศน์และโฆษณา
- นักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับโจทย์ หากจะผลิตสื่อออนไลน์ที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในปัจจุบันจะมีกระบวนการอย่างไรบ้าง?
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าสื่อออนไลน์ที่มีความสร้างสรรค์และสร้างการเรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ควรมีลักษณะเป็นอย่างไร?”
 - อภิปรายร่วมกันผ่านเครื่องมือคิด place mat
 - จับสลากแบ่งกลุ่มเพื่อออกแบบและผลิตสื่อออนไลน์ตามหัวข้อที่สนใจ เช่น สถานที่ท่องเที่ยว อาชีพ การเดินทาง การอยู่การกิน ฯลฯ หรือหัวข้อตามความสนใจ
- แต่ละกลุ่มออกแบบ story board
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
- ระดมสมองวิเคราะห์ข้อมูล
- สรุปความเข้าใจของการผลิตสื่อ
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- story board

ความรู้  
เข้าใจและสามารถผลิตสื่อออนไลน์ที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในปัจจุบันได้

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย





week
input
process
Out put
Out come
4

โจทย์ : รูปแบบการผลิตสื่อ
คำถาม
 - รูปแบบการนำเสนอของสื่อมีผลต่อผู้บริโภคอย่างไร?

เครื่องมือคิด
- show share สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

สื่อ / อุปกรณ์  
- คลิปวิดี
โอ



-แต่ละกลุ่มนำเสนอ Story board
-ครูเปิด คลิปวิดีโอเรื่อง พ่อโกหกลูก
 “พ่อหนูเป็นใบ้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด นักเรียนเห็นมุมมองอะไรบ้างจากการดูคลิปวิดีโอนี้ ?”                 (รูปแบบการนำเสนอแนวคิดผู้สร้าง เทคนิคที่ใช้ในการสร้าง )                           
- นักเรียนวิเคราะห์ข้อดีและข้อจำกัดของสื่อออนไลน์ที่ได้ดู
- ครูและนักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนวางแผนและแบ่งบทบาทหน้าที่เพื่อผลิตสื่อออนไลน์ที่ต้องการ
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์                            







ภาระงาน
- ออกแบบ
Story broad  และบทบาทหน้าที่ในการทำงาน
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
-Story broad
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้  
เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ข้อดีและข้อจำกัดของสื่อออนไลน์รวมทั้งสามารถเลือกรูปแบบการนำเสนอได้

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
 - ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย



week
input
process
output
outcome
5













โจทย์ : ประเภทของสื่อ
คำถาม
- สื่อออนไลน์แต่ละประเภทมีข้อดีและข้อจำกัดอย่างไร?
- ในอนาคตสื่อออนไลน์แต่ละประเภทจะมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?
- สื่อออนไลน์มีอิทธิพลอย่างไรต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบันและเราจะเสพสื่ออย่างมีวิจารณญาณของตนเองได้อย่างไร?

เครื่องมือคิด
-
Show share สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

สื่อ / อุปกรณ์ 
- หนังสือ
- อินเตอร์เน็ต

- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันผลิตสื่อ
- ครูและนักเรียน AAR ร่วมกันเกี่ยวกับความคืบหน้าของกระบวนการผลิตสื่อ ( มีกระบวนการอย่างไร/ เกิดปัญหาอะไร/ มีวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างไร ) **ดำเนินการในช่วงสัปดาห์ที่ 5- 8
 

Flipped classroom นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาประเภทของสื่อออนไลน์แต่ละชนิด ดังนี้
             1. Weblogs 
             2. Social Networking 
             3. Micro Blogging 
             4. Online Video 
             5. Photo Sharing 
             6. Wikis 
             7. Virtual Worlds 
             8. Crowd Sourcing 
             9. Podcasting หรือ Podcast 
            10. Discuss / Review/ Opinion 
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอข้อมูลโดยมีชุดคำถาม
       1. สื่อออนไลน์แต่ละประเภทมีข้อดีและข้อจำกัดอย่างไร
       2. ในอนาคตสื่อออนไลน์แต่ละประเภทจะมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?
       3.สื่อออนไลน์มีอิทธิพลอย่างไรต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบันและเราจะเสพสื่ออย่างมีวิจารณญาณของตนเองได้อย่างไร?                      - นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- แบ่งกลุ่มศึกษาประเภทของสื่อออนไลน์
-ระดมสมองวิเคราะห์ข้อมูล
- ผลิตสื่อออนไลน์

ชิ้นงาน
- นำเสนอ ประเภทของสื่อ
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ประเภทของสื่อออนไลน์และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นกับสื่อต่างๆได้

ทักษะ
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย








week
nput
process
Out put
Out come
6

โจทย์ : กฎหมายเกี่ยวกับสื่อออนไลน์
คำถาม
- นักเรียนคิดว่ากฎหมายเกี่ยวกับสื่อออนไลน์มีความสำคัญหรือไม่อย่างไร?
- นักเรียนคิดว่าสื่อในอดีตและปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เครื่องมือคิด
-
Show share สรุปเรื่องกฎหมายสื่อออนไลน์

สื่อ / อุปกรณ์
  
- อินเทอร์เน็ต
-
I - pad
- กระดาษ
A4

- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันผลิตสื่อ
- ครูและนักเรียน AAR ร่วมกันเกี่ยวกับความคืบหน้าของกระบวนการผลิตสื่อ ( มีกระบวนการอย่างไร/ เกิดปัญหาอะไร/ มีวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างไร ) **ดำเนินการในช่วงสัปดาห์ที่  5- 8
- ครูให้นักเรียนดูภาพยนตร์เรื่อง snow den
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับคลิปที่ได้ดู(ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร)
- จากโจทย์“   นักเรียนคิดว่ากฎหมายเกี่ยวกับสื่อออนไลน์มีความสำคัญหรือไม่อย่างไร?
- ครูเล่าเรื่อง single gateway
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน ( นักเรียนคิดเห็นอย่างไร)
- ครูให้โจทย์นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษากฎหมายสื่อออนไลน์ในปัจจุบันพร้อมทั้งยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อบอกเล่าและนำเสนอ   ( Show and Share)
                - พรบ กระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์
ภาระงาน
- แบ่งกลุ่มศึกษากฎหมายสื่อออนไลน์ในปัจจุบัน
- ผลิตสื่อออนไลน์

ชิ้นงาน
- นำเสนอกฎหมายสื่อออนไลน์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายกฎหมายของสื่อออนไลน์ประเภทต่างๆที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับผู้บริโภคได้

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
week
input
process
Out put
Out come































              - การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
- นักเรียนนำเสนอร่วมกัน
- ครูให้โจทย์ใหม่ นักเรียนคิดว่าสื่อในอดีตและปัจจุบันมีความแตกต่างอย่างไร(Flipped Classroom)



week
Input
process
Out put
Out come

7
โจทย์ : แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสื่อ
คำถาม
  
-นักเรียนคิดว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสื่อในอนาคตจะเป็นอย่างไร?

เครื่องมือคิด
Brain Strom

สื่อ / อุปกรณ์  
- คลิปโฆษณา
ถ่านไฟฉายตรากบ ยาสีดาร์กี้ น้ำมันเครื่องไดเกียว โทรศัพท์ไอโฟน โนเกีย3310
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันผลิตสื่อ
- ครูและนักเรียน AAR ร่วมกันเกี่ยวกับความคืบหน้าของกระบวนการผลิตสื่อ ( มีกระบวนการอย่างไร/ เกิดปัญหาอะไร/ มีวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างไร ) **ดำเนินการในช่วงสัปดาห์ที่ 5- 8
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอโฆษณา เช่น ถ่านไฟฉายตรากบ ยาสีดาร์กี้ น้ำมันเครื่องไดเกียว โทรศัพท์ไอโฟน โนเกีย3310
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนสังเกตเห็นอะไร?”
- ครูและนักเรียนระดมความคิดเห็นร่วมกัน (Brain Strom)
-ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสื่อในอนาคตจะเป็นอย่างไร?”
-นักเรียนสร้าง Time Line media development
- นำเสนอและอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- ผลิตสื่อออนไลน์
-
Time Line สื่อ
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
-
Time line สื่อ
- สรุปเรียนรู้รายสัปดาห์
 

ความรู้
เข้าใจและสามารถวิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสื่อที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้

 ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

week
input
process
Out put
Out come
8
โจทย์ : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
คำถาม
-นักเรียนจะนำเสนอชิ้นงานที่ผลิตให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้อย่างไร?
-นักเรียนคิดว่าเราจะพัฒนางานสื่อของเราให้เท่าทันในอีก 10 ปี ข้างหน้าได้อย่างไร?

เครื่องมือคิด
-
ครูและนักเรียนระดมความคิดเห็นร่วมกัน (Brainstorms)
- Show share สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- Flipped classroom
สื่อ / อุปกรณ์  
- บรรยากาศในห้องเรียน
- กระดาษ
A4





- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันนำเสนอสื่อที่ผลิต
- ครูและนักเรียน AARและ Reflectionร่วมกันเกี่ยวกับชิ้นงานการผลิตสื่อของแต่ละกลุ่ม ( มีกระบวนการอย่างไร/ เกิดปัญหาอะไร/ มีวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างไร/นำเสนออย่างไรให้ผู้อื่นเกิดทักษะและการเรียนรู้ )
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด นักเรียนจะนำเสนอชิ้นงานที่ผลิตให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้อย่างไร?”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
 

- ครูให้นักเรียนดูคลิปสื่อในอนาคต
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าเราจะพัฒนางานสื่อของเราให้เท่าทันในอีก 10 ปี ข้างหน้าได้อย่างไร?”
- ครูให้นักเรียนออกแบบในรูปแบบของนักเรียน
- ครูและนักเรียนระดมความคิดเห็นร่วมกัน (Brainstorms)
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์   
- Flipped classroom ( คลิปวิดีโอ ความเข้าใจ ทักษะและคุณลักษณะใหม่การเสพสื่อออนไลน์อย่างมีวิจารณญาณ รายบุคคลที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ตลอด Quarter4



ภาระงาน
-คลิปวิดีโอ ความเข้าใจ ทักษะและคุณลักษณะใหม่ รายบุคคล
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์



ความรู้
 -เข้าใจและสามารถนำเสนอสื่อที่ผลิตจากแนวคิดของตนเองให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ได้
-สามารถวิเคราะห์และวางแผนการพัฒนางานให้มีคุณภาพได้

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย


week
input
Process
Out put
Out come

9
โจทย์ : ความเข้าใจ ทักษะและคุณลักษณะใหม่ ของตนเองที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ตลอด Quarter4
คำถาม  
-
นักเรียนเกิดความเข้าใจ ทักษะและคุณลักษณะใหม่อย่างไรในระหว่างการเรียนรู้ตลอด Quarter4 ?

เครื่องมือคิด
Brain Strom

สื่อ / อุปกรณ์  
- ข้อมูลในรูปการนำเสนอที่แตกต่าง   เช่นเช่น  Application บน IPAD

- นักเรียนนำเสนอคลิปวิดีโอ ความเข้าใจ ทักษะและคุณลักษณะใหม่ ( การเสพสื่อออนไลน์อย่างมีวิจารณญาณของตนเอง )ของตนเองที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ตลอด Quarter4
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกั( Brain Strom )
-นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนร่วมกันเพื่อจัดกิจกรรมเปิดบ้าน
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์   



ภาระงาน
- นำเสนอคลิปวิดีโอ
-เขียนการเรียนรู้รายสัปดาห์
- วางแผนกิจกรรมเปิดบ้าน
ชิ้นงาน
- คลิปวิดีโอ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
 

ความรู้
เข้าใจและสามารถทบทวนความเข้าใจ ทักษะและคุณลักษณะใหม่ ของตนเองที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ตลอด Quarter4ได้

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงานและการทำ






week
input
process
Out put
Out come


10
โจทย์
ถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
สรุปการเรียนรู้หลังเรียน
คำถาม
นักเรียนคิดว่าการถ่ายทอดความรู้ที่ดีและเกิดประโยชน์สูงสุดควรจะเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
 Show  and Share
นำเสนอข้อมูลและรูปแบบวิธีการถ่ายทอดเรื่องราวที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ 
Mind Mapping
สรุปการเรียนรู้ Quarter 4
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
 -ห้องเรียน
คอมพิวเตอร์
อินเตอร์เน็ต
- Program (After effect , Movie maker , Picasa)
- นักเรียนคิดว่าการถ่ายทอดความรู้ที่ดีและเกิดประโยชน์สูงสุดควรจะเป็นอย่างไร?”
- ร่วมแสดงความคิดเห็นของตนเองให้เพื่อนและครูฟังได้ร่วมรับฟังและแสดงความคิดเห็น
นักเรียนแต่ละคนนำข้อมูลทั้งหมดที่ได้เรียนรู้ตลอด Quarter ที่ 4 มาลำดับความสำคัญและจัดระบบข้อมูลเพื่อใช้ในการนำเสนอ
- จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบการนำเสนอที่น่าสนใจ อาทิเช่น แผ่นพับอิเล็กทรอนิกส์สารคดีสั้น Clip  VDO ชาร์ตภาพเรื่องราว ฯลฯ
นำเสนอความคืบหน้าของงานตนเอง โดยให้เพื่อนและครูร่วมนำเสนอความคิดเห็น เพื่อ
เพิ่มเติมประเด็นต่างๆ
- อภิปรายกิจกรรมที่ได้เรียนรู้
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากรู้
-  เขียน Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน Quarter4
- ประเมินตนเองพร้อมทั้งเขียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
 - ออกแบบลำดับความสำคัญและจัดระบบข้อมูลเพื่อใช้ในการนำเสนอ
- นำเสนอความคืบหน้าของงานตนเอง โดยให้เพื่อนและครูร่วมนำเสนอความคิดเห็น เพื่อเพิ่มเติมประเด็นต่างๆ

ชิ้นงาน
สมุดบันทึกเล่มเล็ก
สารคดีสั้น  ถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน Quarter 4
- ประเมินตนเอง
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายข้อมูลที่น่าสนใจให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ และสรุปประเด็นที่น่าสนใจได้
ทักษะ
- ทักษะชีวิต
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
- ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น